หน่วยความจำCache คืออะไร
Cache คือหน่วยความจำอย่างหนึ่ง มีความเร็วในการเข้าถึงและการถ่ายโอนข้อมูลที่สูง ซึ่งมีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลที่เราต้องการจะใช้งานบ่อยๆ เพื่อเวลาที่ CPU ต้องการใช้ข้อมูลนั้นๆ จะได้ค้นหาได้เร็ว โดยที่ไม่จำเป็นที่จะต้องไปค้นหาจากข้อมูลทั้งหมด
ซึ่งทำให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลของเราได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
Cache มี 2 แบบคือ
1.disk cache คือการเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำหลักของเราก่อน เมื่อ CPU ต้องการจะหาข้อมูล ก็จะหาใน dish cache ก่อนแล้วค่อยเข้าไปค้นหาใน Harddisk
2.Memory cache จะดึงข้อมูลมาเก็บไว้ใน memory ซึ่งจะถึงข้อมูลได้รวดเร็วกว่า แต่มีความจำที่เล็กกว่า
เพราะฉะนั้นถ้า คอมพิวเตอร์เครื่องใดที่มี cache ความเร็วสูงก็จะเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย แต่อย่างไรก็ตามยิ่งขนาดใหญ่ก็เก็บข้อมูลได้เยอะ แต่การเข้าถึงจะช้ากว่า cache ที่มีขนาดเล็ก
ระบบ Cache นอกจาก ใน computer แล้ว ระบบ Cache ยังเอามาใช้งานบนเว็บ ด้วย CMSส่วนใหญ่จะมีระบบ Cache เพื่อลดภาระการทำงานของฐานข้อมูลลง
Cache คือหน่วยความจำอย่างหนึ่ง มีความเร็วในการเข้าถึงและการถ่ายโอนข้อมูลที่สูง ซึ่งมีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลที่เราต้องการจะใช้งานบ่อยๆ เพื่อเวลาที่ CPU ต้องการใช้ข้อมูลนั้นๆ จะได้ค้นหาได้เร็ว โดยที่ไม่จำเป็นที่จะต้องไปค้นหาจากข้อมูลทั้งหมด
ซึ่งทำให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลของเราได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
Cache มี 2 แบบคือ
1.disk cache คือการเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำหลักของเราก่อน เมื่อ CPU ต้องการจะหาข้อมูล ก็จะหาใน dish cache ก่อนแล้วค่อยเข้าไปค้นหาใน Harddisk
2.Memory cache จะดึงข้อมูลมาเก็บไว้ใน memory ซึ่งจะถึงข้อมูลได้รวดเร็วกว่า แต่มีความจำที่เล็กกว่า
เพราะฉะนั้นถ้า คอมพิวเตอร์เครื่องใดที่มี cache ความเร็วสูงก็จะเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย แต่อย่างไรก็ตามยิ่งขนาดใหญ่ก็เก็บข้อมูลได้เยอะ แต่การเข้าถึงจะช้ากว่า cache ที่มีขนาดเล็ก
ระบบ Cache นอกจาก ใน computer แล้ว ระบบ Cache ยังเอามาใช้งานบนเว็บ ด้วย CMSส่วนใหญ่จะมีระบบ Cache เพื่อลดภาระการทำงานของฐานข้อมูลลง
หน่วยความจำแบบไดนามิกแรม
เป็นแรมที่มีโครงสร้างแตกต่างจากสแตติกแรม
ทำให้สามารถมีความจุสูงกว่าสแตติกแรม 4 เท่า
ทำให้กินกำลังไฟฟ้าในการทำงานน้อยกว่าสแตติกแรมอยู่ในเกณฑ์ 1/4 ถึง 1/6 เท่าของสแตติกแรม
ซึ่งเมื่อเทียบราคาต่อบิตแล้วราคาจะสูง สแตติกแรมจึงถูกนำมาใช้ในหน่วยความจำขนาดเล็ก
เช่น ระบบไมโครโปรเซสเซอร์ เป็นต้น การควบคุมกระบวนการทำงานของไดนามิกแรม
ต้องมีวงจรรีเฟรชหน่วยความจำ
โครงสร้างทั่วไปของไดนามิกแรมแสดงในรูปที่
12.13
เป็นไดนามิกแรมขนาด 16k x 1 (16,384 Cell =
2) มีขนาดอาร์เรย์ของเซลล์เป็นแมทริกซ์ขนาด 128 x 128 อาร์เรย์
แต่ละเซลล์จะบอกตำแหน่งของแอดเดรสโดยตัวถอดรหัสแถว และตัวถอดรหัสคอลัมน์ขนาด 1
- to - 128 ดังนั้นแอดเดรสอินพุตของตัวถอดรหัสแถวจะมีขนาด 7 เส้น (A - A ) และ
ตัวถอดรหัสคอลัมน์จะมีแอดเดรส 7 เส้นเช่นกัน (A -
A ) รวมทั้งสิ้นมีแอดเดรสขนาด 14 บิต
หน่วยความจำแบบสแตติกแรม
เป็นแรมที่มีฟลิบฟลอบเป็นตัวเก็บข้อมูลภายในแต่ละบิต
ดังนั้นข้อมูลที่เก็บอยู่ภายในสแตติกแรมจะไม่สูญหายไปจนกระทั่งสแตติกแรมไม่ได้รับแรงดันไบอัสฟลิปฟลอปภายในสแตติกแรมมี
2 แบบ คือ แบบที่ใช้ไบโพล่าร์ทรานซิสเตอร์
และแบบที่ใช้มอสทรานซิสเตอร์
ซึ่งชนิดที่เป็นมอสทรานซิสเตอร์จะกินกำลังไฟฟ้าน้อยกว่าชนิดไบโพล่าร์ทรานซิสเตอร์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น